ทำไมต้อง “Hello World” ?
ทำไมต้อง “Hello World” ?
ทำไมต้อง “Hello World” ?
เคยสงสัยกันไหมครับว่าทำไมเวลาที่เริ่มศึกษาภาษาโปรแกรมใหม่จึงมักจะเริ่มต้นจากการพิมพ์ “Hello World” ผ่านทางหน้าจอ หรือใช้เป็นข้อความสำหรับทดสอบ feature บางอย่าง แล้วจุดเริ่มต้นของคำนี้มาจากไหนกัน วันนี้เราจะมาเล่าให้ฟังครับ !
เคยสงสัยกันไหมครับว่าทำไมเวลาที่เริ่มศึกษาภาษาโปรแกรมใหม่จึงมักจะเริ่มต้นจากการพิมพ์ “Hello World” ผ่านทางหน้าจอ หรือใช้เป็นข้อความสำหรับทดสอบ feature บางอย่าง แล้วจุดเริ่มต้นของคำนี้มาจากไหนกัน วันนี้เราจะมาเล่าให้ฟังครับ !
เคยสงสัยกันไหมครับว่าทำไมเวลาที่เริ่มศึกษาภาษาโปรแกรมใหม่จึงมักจะเริ่มต้นจากการพิมพ์ “Hello World” ผ่านทางหน้าจอ หรือใช้เป็นข้อความสำหรับทดสอบ feature บางอย่าง แล้วจุดเริ่มต้นของคำนี้มาจากไหนกัน วันนี้เราจะมาเล่าให้ฟังครับ !
จุดเริ่มต้นของการใช้ “Hello World” ในการเขียนโปรแกรม
ถ้าจะให้พูดถึงจุดเริ่มต้นที่ทำให้เริ่มแพร่หลายนั้นคงต้องย้อนไปในปี 1972 โดย Brian Kernighan ใน A Tutorial Introduction to the Language B ที่พูดถึงการใช้งาน External Variable และ Functions ของภาษา B
ในบทที่ 7 External Variable กล่าวถึงการแสดงผลข้อความผ่านตัวแปร a, b และ c โดยที่แต่ละตัวแปรนั้นเก็บค่า ‘hell’, ‘o, w’ และ ‘orld’ ตามลำดับ เนื่องจาก String ในภาษา B นั้นสามารถเก็บข้อมูลได้ไม่เกิน 4 ตัวอักษร จึงทำให้จำเป็นต้องแยกตัวแปรออกทั้งสิ้น 3 ตัวนั่นเอง
จุดเริ่มต้นของการใช้ “Hello World” ในการเขียนโปรแกรม
ถ้าจะให้พูดถึงจุดเริ่มต้นที่ทำให้เริ่มแพร่หลายนั้นคงต้องย้อนไปในปี 1972 โดย Brian Kernighan ใน A Tutorial Introduction to the Language B ที่พูดถึงการใช้งาน External Variable และ Functions ของภาษา B
ในบทที่ 7 External Variable กล่าวถึงการแสดงผลข้อความผ่านตัวแปร a, b และ c โดยที่แต่ละตัวแปรนั้นเก็บค่า ‘hell’, ‘o, w’ และ ‘orld’ ตามลำดับ เนื่องจาก String ในภาษา B นั้นสามารถเก็บข้อมูลได้ไม่เกิน 4 ตัวอักษร จึงทำให้จำเป็นต้องแยกตัวแปรออกทั้งสิ้น 3 ตัวนั่นเอง
จุดเริ่มต้นของการใช้ “Hello World” ในการเขียนโปรแกรม
ถ้าจะให้พูดถึงจุดเริ่มต้นที่ทำให้เริ่มแพร่หลายนั้นคงต้องย้อนไปในปี 1972 โดย Brian Kernighan ใน A Tutorial Introduction to the Language B ที่พูดถึงการใช้งาน External Variable และ Functions ของภาษา B
ในบทที่ 7 External Variable กล่าวถึงการแสดงผลข้อความผ่านตัวแปร a, b และ c โดยที่แต่ละตัวแปรนั้นเก็บค่า ‘hell’, ‘o, w’ และ ‘orld’ ตามลำดับ เนื่องจาก String ในภาษา B นั้นสามารถเก็บข้อมูลได้ไม่เกิน 4 ตัวอักษร จึงทำให้จำเป็นต้องแยกตัวแปรออกทั้งสิ้น 3 ตัวนั่นเอง
main( ) {
extrn a, b, c;
putchar(a); putchar(b); putchar(c); putchar('!*n');
}
a 'hell';
b 'o, w';
c 'orld';
ในบทที่ 9 Functions กล่าวถึงการประกาศฟังก์ชันเพื่อลดภาระงานในการเขียนลงและทำให้โปรแกรมที่ได้นั้นอ่านง่ายขึ้นอีกด้วย
ในบทที่ 9 Functions กล่าวถึงการประกาศฟังก์ชันเพื่อลดภาระงานในการเขียนลงและทำให้โปรแกรมที่ได้นั้นอ่านง่ายขึ้นอีกด้วย
ในบทที่ 9 Functions กล่าวถึงการประกาศฟังก์ชันเพื่อลดภาระงานในการเขียนลงและทำให้โปรแกรมที่ได้นั้นอ่านง่ายขึ้นอีกด้วย
main( ) {
extrn a,b,c,d;
put2char(a,b) ;
put2char(c,d) ;
}
put2char(x,y) {
putchar(x);
putchar(y);
}
a ’hell’; b ’o, w’; c ’orld’; d ’!*n’;
หลังจากนั้นไม่นาน ในปี 1978 ได้มีการใช้คำว่า “Hello World” ในหนังสือ The C Programming Language ที่เขียนโดย Brian Kernighan และ Dennis Ritchie ซึ่งเป็นการยกตัวอย่างการใช้งานคำสั่ง printf()
สำหรับการแสดงข้อความ “hello, world” ผ่านทางหน้าจอนั่นเอง
หลังจากนั้นไม่นาน ในปี 1978 ได้มีการใช้คำว่า “Hello World” ในหนังสือ The C Programming Language ที่เขียนโดย Brian Kernighan และ Dennis Ritchie ซึ่งเป็นการยกตัวอย่างการใช้งานคำสั่ง printf()
สำหรับการแสดงข้อความ “hello, world” ผ่านทางหน้าจอนั่นเอง
หลังจากนั้นไม่นาน ในปี 1978 ได้มีการใช้คำว่า “Hello World” ในหนังสือ The C Programming Language ที่เขียนโดย Brian Kernighan และ Dennis Ritchie ซึ่งเป็นการยกตัวอย่างการใช้งานคำสั่ง printf()
สำหรับการแสดงข้อความ “hello, world” ผ่านทางหน้าจอนั่นเอง
#include <stdio.h>
main()
{
printf("hello, world!\n");
}
จะเห็นได้ว่าการใช้งานคำว่า “Hello World” ในการเขียนโปรแกรมนั้นมีมานานกว่า 50 ปีแล้ว และยังมีการใช้งานต่อเนื่องมาถึงปัจจุบันอีกด้วย ไม่แน่ว่าในอนาคตอีกร้อยปีข้างหน้า คำ ๆ นี้อาจจะยังอยู่คู่กับวงการเขียนโปรแกรมอีกก็เป็นได้ !!?
นอกจาก “Hello World” ยังมีคำอื่นอีกไหม ที่มีการใช้กันในวงกว้าง ?
“foo” และ “bar” — มักใช้ประกาศเป็นชื่อตัวแปร ฟังก์ชัน หรืออื่น ๆ
“lorem Ipsum” — ข้อความที่มักใช้แสดงเป็นตัวอย่าง แทนการใช้ข้อความจริง ๆ
“Alice & Bob” — ใช้สำหรับยกตัวอย่างการทำงานของขั้นตอนวิธีเข้ารหัสต่าง ๆ
“Sometimes the person that you are truly meant to fall in love with will come into your life in the strangest, most unexpected ways.” — Hello World.
จะเห็นได้ว่าการใช้งานคำว่า “Hello World” ในการเขียนโปรแกรมนั้นมีมานานกว่า 50 ปีแล้ว และยังมีการใช้งานต่อเนื่องมาถึงปัจจุบันอีกด้วย ไม่แน่ว่าในอนาคตอีกร้อยปีข้างหน้า คำ ๆ นี้อาจจะยังอยู่คู่กับวงการเขียนโปรแกรมอีกก็เป็นได้ !!?
นอกจาก “Hello World” ยังมีคำอื่นอีกไหม ที่มีการใช้กันในวงกว้าง ?
“foo” และ “bar” — มักใช้ประกาศเป็นชื่อตัวแปร ฟังก์ชัน หรืออื่น ๆ
“lorem Ipsum” — ข้อความที่มักใช้แสดงเป็นตัวอย่าง แทนการใช้ข้อความจริง ๆ
“Alice & Bob” — ใช้สำหรับยกตัวอย่างการทำงานของขั้นตอนวิธีเข้ารหัสต่าง ๆ
“Sometimes the person that you are truly meant to fall in love with will come into your life in the strangest, most unexpected ways.” — Hello World.
จะเห็นได้ว่าการใช้งานคำว่า “Hello World” ในการเขียนโปรแกรมนั้นมีมานานกว่า 50 ปีแล้ว และยังมีการใช้งานต่อเนื่องมาถึงปัจจุบันอีกด้วย ไม่แน่ว่าในอนาคตอีกร้อยปีข้างหน้า คำ ๆ นี้อาจจะยังอยู่คู่กับวงการเขียนโปรแกรมอีกก็เป็นได้ !!?
นอกจาก “Hello World” ยังมีคำอื่นอีกไหม ที่มีการใช้กันในวงกว้าง ?
“foo” และ “bar” — มักใช้ประกาศเป็นชื่อตัวแปร ฟังก์ชัน หรืออื่น ๆ
“lorem Ipsum” — ข้อความที่มักใช้แสดงเป็นตัวอย่าง แทนการใช้ข้อความจริง ๆ
“Alice & Bob” — ใช้สำหรับยกตัวอย่างการทำงานของขั้นตอนวิธีเข้ารหัสต่าง ๆ
“Sometimes the person that you are truly meant to fall in love with will come into your life in the strangest, most unexpected ways.” — Hello World.